บทที่ 2 บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด
บริษัทจำกัด (Company
Limited) หมายถึง
บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่ากับผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจำกัดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ
บริษัทมหาชนจำกัด หมายถึง บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชำระการจัดตั้งบริษัทจำกัดจะต้องมีบุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปเรียกว่า “ผู้เริ่มก่อการ” (Promoters)
หนังสือบริคณห์สนธิ คือ หนังสือที่แสดงวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1098
การประชุมตั้งบริษัท จะดำเนินการเมื่อผู้เริ่มก่อการนำหนังสือบริคณห์สนธิไปจดทะเบียนแล้วได้จัดให้มีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นจนครบจำนวนแล้ว ผู้เริ่มก่อการจะต้องเรียกประชุมผู้ถือหุ้นโดยต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ในการประชุมตั้งบริษัท
การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องมีบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป เรียกว่า “ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัท” ร่วมกันจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ
ทุนของบริษัทจำกัด หมายถึง ทุนที่จดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ซึ่งระบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ ซึ่งจะต้องกำหนดไว้เป็นจำนวนที่เหมาะสม เพื่อให้เพียงพอต่อการใช้ในการดำเนินงานของกิจการ
หุ้นทุนจะทะเบียน
บริษัทมหาชนจำกัด หมายถึง บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชำระการจัดตั้งบริษัทจำกัดจะต้องมีบุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปเรียกว่า “ผู้เริ่มก่อการ” (Promoters)
หนังสือบริคณห์สนธิ คือ หนังสือที่แสดงวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1098
การประชุมตั้งบริษัท จะดำเนินการเมื่อผู้เริ่มก่อการนำหนังสือบริคณห์สนธิไปจดทะเบียนแล้วได้จัดให้มีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นจนครบจำนวนแล้ว ผู้เริ่มก่อการจะต้องเรียกประชุมผู้ถือหุ้นโดยต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ในการประชุมตั้งบริษัท
การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องมีบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป เรียกว่า “ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัท” ร่วมกันจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ
ทุนของบริษัทจำกัด หมายถึง ทุนที่จดทะเบียนไว้กับกระทรวงพาณิชย์ซึ่งระบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ ซึ่งจะต้องกำหนดไว้เป็นจำนวนที่เหมาะสม เพื่อให้เพียงพอต่อการใช้ในการดำเนินงานของกิจการ
หุ้นทุนจะทะเบียน
หุ้นทุนจดทะเบียนมี
2 ประเภท
1. หุ้นสามัญ
2. หุ้นบุริมสิทธิ
1. หุ้นสามัญ
2. หุ้นบุริมสิทธิ
แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/rtech370072/iunit-1
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น